• Supika Nirattisai
    : Faculty of Liberal Arts Prince of Songkla University, Songkla, Thailand
  • Thanyapa Palanukulwong
    : Faculty of Liberal Arts Prince of Songkla University, Songkla, Thailand
FULL TEXT

Abstract

The purposes of the study were to: 1) examining the receptive and productive vocabulary size of Thai University students 2) investigate the readiness of the students’ vocabulary knowledge. The subjects of this study were 347 Prince of Songkla University students in the 6 fields of study who would be highly affected by the upcoming ASEAN Economic Community (AEC) in 2015: engineering, accounting, medicine, dentistry, nursing, and hospitality and tourism and 3) explore the factors affecting their vocabulary knowledge. The research data were obtained through 3 instruments: the bilingual English-Thai version of the vocabulary size test, the productive vocabulary level test, and the semi-structured interview. The study revealed that the receptive and productive vocabulary size of the subjects in all fields were 5751.58 and 1609.56-word families, respectively. In terms of the readiness of the subjects’ vocabulary knowledge, their receptive and productive vocabulary size was below the sufficient levels of effective language use. According to the interview, their attitudes towards English language and their exposure to the language may affect their level of vocabulary knowledge.


Keyword

productive vocabulary, receptive vocabulary, university students, vocabulary knowledge

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาปริมาณคำศัพท์เพื่อการรับรู้ (receptive vocabulary) และคำศัพท์เพื่อการใช้ (productive vocabulary) ของนักศึกษาไทย ศึกษาความพร้อมของปริมาณคำศัพท์ของนักศึกษาไทย กลุ่มตัวอย่างที่ทาการศึกษาได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ใน 6 สาขาวิชา ซึ่งจะได้รับผลกระทบอย่างมากจากการเปิดการค้าเสรีอาเซียน ในปี 2558 ได้แก่ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ การบัญชี แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ และการบริการและการท่องเที่ยว และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณคำศัพท์ของนักศึกษาไทย ข้อมูลวิจัยได้เก็บรวบรวมจากเครื่องมือจานวน 3 ชิ้น คือ 1) ข้อสอบวัดปริมาณคำศัพท์เพื่อการรับรู้ (receptive vocabulary) 2) ข้อสอบวัดระดับปริมาณคา ศัพท์เพื่อการใช้ (productive vocabulary) และ 3) การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างรวมทุกสาขาวิชามีปริมาณคำศัพท์เพื่อการรับรู้ (receptive vocabulary) และคำศัพท์เพื่อการใช้ (productive vocabulary) เท่ากับ 5751.58 และ 1609.56 ตระกูลศัพท์ (word families) ตามลาดับ ในส่วนความพร้อมของปริมาณคำศัพท์ พบว่า ทั้งปริมาณคำศัพท์เพื่อการรับรู้ (receptive vocabulary) และคำศัพท์เพื่อการใช้ (productive vocabulary) ของกลุ่มตัวอย่าง ยังไม่เพียงพอสำหรับการใช้ภาษาที่มีประสิทธิภาพ จากผลการสัมภาษณ์พบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อภาษาอังกฤษและเข้าถึงภาษาอังกฤษอาจมีผลต่อระดับคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษา


คำสำคัญ

คำศัพท์เพื่อการใช้ คำศัพท์เพื่อการรับรู้ นักศึกษามหาวิทยาลัยไทย ความรู้คำศัพท์