• Ian James Sanderson
    : Independent Scholar
FULL TEXT

Abstract

The aim of this paper is to explore the literary works of William Shakespeare with reference to the concept of intertextuality in his work. Intertextuality is a literary concept regarding the interrelationship between various texts. In this paper, particular attention is paid to intertextuality in Shakespeare’s play about a Roman hero, Coriolanus. Parts of the subsequent movie, which is based on the original play, are also mentioned. It is noted that the work of Shakespeare has some intertextual origins in the literary works of previous artists such as Sophocles, Plutarch, and Plato. Hence, intertextuality in Shakespearean plays gives clear evidence that certain ideas and narratives not only preceded Shakespeare but also continue to permeate Western literature, art and culture.


Keyword

Coriolanus, English Literature, Intertextuality, Shakespeare, Western Civilisation, Western Culture.

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของบทความเชิงวิชาการชิ้นนี้คือการสำรวจผลงานทางวรรณกรรมของวิลเลี่ยม เชคสเปียร์ตามหลักแนวคิดทางด้านสัมพันธบท  แนวคิดทางด้านสัมพันธบทนี้เป็นแนวคิดทางด้านวรรณคดีเกี่ยวกับความเชื่อมโยงกับตัวบทอื่นๆ บทความชิ้นนี้เน้นการศึกษาแนวคิดทางด้านสัมพันธบทที่ปรากฏอยู่ในบทละครของเชคสเปียร์เกี่ยวกับเรื่องโรมัน ฮีโร่ (Roman hero) และคอริโอลานุส (Coriolanus) นอกจากนี้ผู้ศึกษายังได้ศึกษาตัวบทในบางส่วนของภาพยนตร์ซึ่งมีเนื้อเรื่องยึดตามบทละครจากต้นฉบับ จากการศึกษาสามารถกล่าวได้ว่างานวรรณกรรมของเชคสเปียร์มีพื้นฐานแนวคิดทางด้านสัมพันธบทในงานวรรณกรรมของนักเขียนคนอื่นๆ อย่างเช่น ซอโฟคลีส (Sophocles) พลูทาร์ก (Plutarch) และเพลโต (Plato) สรุปแล้วแนวคิดทางด้านสัมพันธบทในงานบทละครของเชคสเปียร์ได้ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนในเรื่องของแนวคิดและกลวิธีการเล่าเรื่องตามแนวคิดนี้ไม่ได้ปรากฏอยู่แค่ในงานวรรณกรรมของเชคสเปียร์ แต่แนวคิดและกลวิธีการเล่าเรื่องยังแทรกอยู่ในงานวรรณกรรมตะวันตก ศิลปะและวัฒนธรรมอีกด้วย


คำสำคัญ

เชกสเปียร์ คอริโอเลนุส สัมพันธบท วรรณกรรมภาษาอังกฤษ อารยธรรมตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก