• ณฐินี สุรกาญจน์กุล
    : สำนักพิกัดอัตราศุลกากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
  • ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ
    : กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ราณี สุรกาญจน์กุล
    : รองศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
FULL TEXT

Abstract

A study of the production of non-dairy creamer was conducted by using Namwa and Hom Thong banana flour (2.0, 3.0, 4.0%), polysorbate 60 as emulsifier (0.1, 0.2, 0.3%), and rice bran oil (2.0, 3.0, 4.0%). The solution was dried by using a vacuum dryer and a drum dryer. The samples were sensory evaluated and it was found that a formula containing 3% of both banana flours, 0.1% of polysorbate 60 and 3.0% of rice bran oil was optimum for non-dairy creamer production. The two types of drying equipment did not affect the quality. Nutritional analysis of the samples from both banana flours (Namwa and Hom Thong) dried with the vacuum dryer contained 3.1 and 3.23% moisture, 0.92 and 0.96% ash, 4.21 and 4.05% protein, 3.92 and 3.75% fat, 1.46 and 1.55% crude fiber, 86.39 and 86.46% carbohydrate, and 397.68 and 403.79 Kcal of energy; samples dried with the drum dryer contained 2.28 and 3.05% moisture, 0.87 and 0.81% ash, 4.63 and 4.59% protein, 4.41 and 4.32% fat, 1.37 and 1.39% crude fiber, 86.55 and 86.04% carbohydrate, and 381.90 and 401.40 Kcal of energy. The physical properties of non-dairy creamer from Kluai Namwa banana  and Kluai Hom Thong banana were found to be pH = 6.38 and 7.07, total solid = 12 and 14, viscosity = 36.84 and 36.78 centipoise, color L = 87.07, 86.17, and 87.12, a = 11.12, 16.69 and 10.35, b = -26.53 and - 36.4, and -25.20; a microbiological examination shows that Staphylococcus aureus, Escherichia coli, yeasts, mold and aerobic bacteria were not found. The shelf life of the non-dairy creamer at room temperature was not less than 4 months. 


Keyword

banana flour, vacuum dryer, drum dryer, non-dairy creamer

บทคัดย่อ

การศึกษาการทำครีมเทียม โดยใช้แป้งกล้วยน้ำว้าและแป้งกล้วยหอมทอง (ร้อยละ 2.0, 3.0, 4.0) สารให้ความ คงตัว พอลิซอร์เบต 60 (ร้อยละ 0.1, 0.2 0.3) และน้ำมันรำข้าว (ร้อยละ 2.0, 3.0, 4.0) นำสารละลายไปทำให้แห้งโดย ใช้เครื่องอบแห้งแบบสุญญากาศและเครื่องอบแห้งแบบลูกกลิ้ง จากการทดสอบทางประสาทสัมผัส พบสูตรที่เหมาะสม ในการผลิตครีมเทียม ประกอบด้วยแป้งกล้วยร้อยละ 3.0 ร้อยละ 0.1 พอลิซอร์เบต 60และน้ำมันรำข้าวร้อยละ 3.0 การ อบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งทั้งสองชนิด ได้ครีมเทียมที่มีคุณภาพไม่ต่างกัน การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของครีม เทียมที่ทำจากแป้งกล้วยน้ำว้าและแป้งกล้วยหอมเมื่ออบด้วยเครื่องอบแห้งสุญญากาศ ประกอบด้วยความชื้นร้อยละ 3.10 และ 3.23 เถ้าร้อยละ 0.92 และ 0.96 โปรตีนร้อยละ 4.21 และ 4.05 ไขมันร้อยละ 3.92 และ 3.75 เส้นใย 1.46 และ 1.55 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 86.39 และ 86.46 พลังงาน 397.68 กิโลแคลอรีและ 403.79 กิโลแคลอรี และครีมเทียม จากเครื่องอบแห้งแบบลูกกลิ้ง ประกอบด้วยความชื้นร้อยละ 2.28 และ 3.05 เถ้าร้อยละ 0.87 และ 0.81 โปรตีนร้อยละ 4.63 และ 4.59 ไขมันร้อยละ 4.41 และ 4.32 เส้นใย 1.37 และ 1.39 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 86.55 และ 86.04 พลังงาน 381.90 กิโลแคลอรีและ 401.40 กิโลแคลอรี แคลอรี การทดสอบทางกายภาพของครีมเทียมจากแป้งกล้วยน้ำว้า, แป้ง กล้วยหอมและสูตรเทียบมีค่าความเป็นกรดด่าง = 6.38, 7.07 และ 7.14 ค่าของแข็งที่ละลายน้ำได้ = 12, 14 และ 30 ความหนืด = 36.84, 36.78 และ 16.05 เซนติพอยด์ สี L = 87.07, 86.17และ 87.12, a=11.12, 16.69 และ 10.35, และ b= -26.53, -36.40 และ -25.20, 16.90 จากการตรวจสอบจุลินทรีย์ในครีมเทียม ปรากฏว่า ตรวจไม่พบ Staphylococcus aureus, Escherichia coli, yeasts, mold and aerobic bacteria ครีมเทียมที่ผลิตได้มีอายุการเก็บ รักษาที่อุณหภูมิห้องได้นานไม่น้อยกว่า 4 เดือน


คำสำคัญ

แป้งกล้วย เครื่องอบแห้งแบบลูกกลิ้ง ครีมเทียม เครื่องอบแห้งสุญญากาศ