• Kitthitar Wattanakornpisarn
    : MA student, Faculty of Liberal Arts, Mahidol University
  • Songsri Soranastaporn
    : Associate Professor Dr., Faculty of Liberal Arts, Mahidol University
FULL TEXT

Abstract

          Language learning strategies are fundamental for the understanding of any language. A number of instructional instruments have been introduced to enhance students’ learning strategies. Language games are one of the instruments gradually applied in classrooms in order to foster students’ learning capabilities. This article is aimed at explaining the development of language games to improve students’ language learning strategies. The development of language games has been presented through the ADDIE instructional design consisting of five phases, analysis, design, development, implementation, and evaluation. The instructional theory of Robert Gagné was also employed consisting of nine events of instruction: gaining attention, informing learners of the objectives, stimulating recall of prior learning, presenting the stimulus, providing learning guidance, eliciting performance, providing feedback, assessing performance, and enhancing retention and transfer. Findings from this study are the development and implementation of language games such as rhyming games and word sort games.

 

 

 


Keyword

instructional design, language games, language learning strategies, language learning theory

บทคัดย่อ

การเรียนรู้ภาษาต่างๆ เป็นกลยุทธ์พื้นฐานในการเข้าใจทุกภาษา เครื่องมือการสอนหลายชนิดได้ถูกนำเสนอเพื่อพัฒนากลยุทธ์ต่างๆ ของนักเรียน เกมภาษาเป็นหนึ่งในนั้นที่ค่อยๆถูกนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อช่วยพัฒนาขีดความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน บทความฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายการพัฒนาเกมภาษา เพื่อปรับปรุงกลยุทธ์การเรียนรู้ภาษาของนักเรียน การพัฒนาเกมภาษานำเสนอผ่านกระบวนการพัฒนารูปแบบการสอน ADDIE ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินผล รวมทั้งทฤษฎีการสอนของโรเบิร์ต กาเย่ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการสอน 9 อย่าง การเร่งเร้าความสนใจ การบอกวัตถุประสงค์ การทบทวนความรู้เดิม การนำเสนอเนื้อหาใหม่ การชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ การกระตุ้นการตอบสนองบทเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับ การทดสอบความรู้ใหม่ และการสรุปและนำไปใช้ จากผลการศึกษาในครั้งนี้คือการพัฒนาและนำไปใช้จริงของเกมภาษาซึ่งได้แก่ เกมคล้องจอง และเกมเรียงคำ


คำสำคัญ

การออกแบบการสอน, เกมภาษา, กลยุทธ์การเรียนรู้ภาษา, ทฤษฎีการเรียนรู้ภาษา