• ขันทอง ใจดี
    : อาจารย์ ภาควิชาการบริหารงานตำรวจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • พิมพกานต์ รัตนา
    : นักศึกษา สาขาวิชาการบริหารงานตำรวจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
FULL TEXT

Abstract

         In this research investigation, the researchers study the promotion of ways of life based on the principle of sufficiency economy in the communities of irrigation water users at Ban Cham Ta Rueang and compare the promotion of ways of life of these residents based on demographic factors. The sample population consisted of 109 irrigation water users using a questionnaire as an instrument to collect data. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The techniques of t test and one- way analysis of variance (ANOVA) were employed at the statistically significant level of .05. Findings showed that the promotion of ways of life based on the principle of sufficiency economy in the communities under study overall exhibited the promotion at a high level. When considered in each aspect, each was found to be at a high level in all aspects. The irrigation water users who differed in gender, age, educational level, and occupation exhibited no differences in the promotion of ways of life based on the principle of sufficiency economy.  Income and positions exhibited differences in the promotion of ways of life based on the principle of sufficiency economy.

 

 


Keyword

Chanthaburi, promotion, sufficiency economy, irrigation water users

บทคัดย่อ

        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาการส่งเสริมวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนของกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานบ้านชำตาเรือง และเพื่อเปรียบเทียบการส่งเสริมวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนของกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานบ้านชำตาเรืองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรของกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานบ้านชำตาเรือง จำนวน 109 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวโดยกาหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า  การส่งเสริมวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนของกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานบ้านชำตาเรือง ในภาพรวม มีการส่งเสริมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน และ บุคลากรในกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีการส่งเสริมวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนที่ไม่แตกต่างกัน ในขณะที่รายได้ และตำแหน่ง มีการส่งเสริมวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนแตกต่างกัน

 

 


คำสำคัญ

จันทบุรี การส่งเสริม เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน